ชีววิทยา1

ชีววิทยา1

University

10 Qs

quiz-placeholder

Similar activities

CBL : metabolism & defects

CBL : metabolism & defects

University

12 Qs

สารชีวโมเลกุล (โปรตีน)

สารชีวโมเลกุล (โปรตีน)

University

12 Qs

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่องการย่อยอาหารในลำไส้เล็ก

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่องการย่อยอาหารในลำไส้เล็ก

University

10 Qs

ความหลากหลายทางชีวภาพ ของกลุ่มคนสวย

ความหลากหลายทางชีวภาพ ของกลุ่มคนสวย

University

10 Qs

เคมีพื้นฐานในสิ่งมีชีวิต 1

เคมีพื้นฐานในสิ่งมีชีวิต 1

12th Grade - University

15 Qs

ระบบย่อยอาหาร

ระบบย่อยอาหาร

9th Grade - University

10 Qs

การย่อยอาหารในมนุษย์

การย่อยอาหารในมนุษย์

University

5 Qs

อาณาจักรพืช

อาณาจักรพืช

University

10 Qs

ชีววิทยา1

ชีววิทยา1

Assessment

Quiz

Biology

University

Hard

Created by

สุรียาวรรณ จันสด

Used 3+ times

FREE Resource

10 questions

Show all answers

1.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

3 mins • 1 pt

Media Image

ในการหาลำดับกรดอะมิโนของเพปไทด์ สามารถทำได้โดยการวิเคราะห์

กรดอะมิโนองค์ประกอบ (amino acid composition) การวิเคราะห์ปลายด้านหมู่อะมิโน (N-terminal group analysis) และการวิเคราะห์หมู่คาร์บอกซิล

( C- terminal group analysis ) ร่วมกับการใช้เอนไซม์บางชนิดในการตัด

พันธะเพปไทด์อย่างจำเพาะ แสดงดังภาพ เพปไทด์ที่มีลำดับกรดอะมิโน

Gln - Gly - Val - Cys - Ala - Lys - Ser - Gly - Ile - Arg

มีจำนวนจุดตัดเอนไซม์ข้างต้นเท่าใด (9สามัญ’63)

จำนวนจุดตัดด้วยเอนไซม์ Trypsin = 0

Chymotrypsin = 0

จำนวนจุดตัดด้วยเอนไซม์ Trypsin = 0

Chymotrypsin = 1

จำนวนจุดตัดด้วยเอนไซม์ Trypsin = 1

Chymotrypsin = 0

จำนวนจุดตัดด้วยเอนไซม์ Trypsin = 1

Chymotrypsin = 1

จำนวนจุดตัดด้วยเอนไซม์ Trypsin = 2

Chymotrypsin = 0

2.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

3 mins • 1 pt

Media Image
  1. ในการหาลำดับกรดอะมิโนของเพปไทด์ สามารถทำได้โดยการวิเคราะห์กรดอะมิโนองค์ประกอบ (amino acid composition) การวิเคราะห์ปลายด้านหมู่อะมิโน (N-terminal group analysis) และการวิเคราะห์หมู่คาร์บอกซิล

  2. ( C- terminal group analysis ) ร่วมกับการใช้เอนไซม์บางชนิดในการตัดพันธะเพปไทด์อย่างจำเพาะ แสดงดังภาพ

  3. ในการหาล าดับกรดอะมิโนของเพปไทด์ชนิดหนึ่งซึ่งประกอบด้วยกรดอะมิโน 11 เรซิดิวส์โดยการวิเคราะห์

    ด้วยวิธีต่าง ๆ ได้ผลดังนี้ 1. การวิเคราะห์กรดอะมิโนองค์ประกอบ ประกอบด้วย Gly 2 ตัว และ Arg, Asp, Glu, His, Lys, Phe, Pro, Ser, Tyr ชนิดละ 1 ตัว

    1. 2. การวิเคราะห์ปลายด้านกรดอะมิโน ได้ลำดับกรดอะมิโน (N) - Glu - Pro - Phe - (C)

    2. 3. การวิเคราะห์ปลายด้านหมู่คาร์บอกซิล ได้ลำดับกรดอะมิโน (N) - Gly - Lys - Asp - (C)

    3. 4. การตัดด้วย trypsin ไดเพปไทด์สองแบบยาว 4 (P4) และ 6 เรซิดิวส์ (P6)

    4. จากนั้นนำเพปไทด์ยาว 6 เรซิดิวส์ (P6) มาวิเคราะห์ปลายด้านหมู่คาร์บอกซิลได้ผลดังนี้

      การวิเคราะห์ด้านปลายหมู่คาร์บอกซิล ได้ลำดับกรดอะมิโน (N) - His - Gly - Lys - (C)

    5. ตำแหน่งที่ 4 ของเพปไทด์ชนิดนี้ คือ กรดอะมิโนชนิดใด (9สามัญ’63)

Arg

Fly

His

Lys

Tyr

3.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

สารชีวโมเลกุลขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยหน่วยย่อยมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะต่าง ๆ ในข้อใดแสดงหมู่ฟังก์ชัน

ที่เข้ามาทำปฏิกิริยาในการสร้างพันธะระหว่างหน่วยย่อยที่ระบุได้อย่างถูกต้อง (9สามัญ’63)

พันธะไกลโคซิดิก

ระหว่างมอนอแซ็กคาไรด์ 2 หน่วย ซึ่งเกิดปฏิกิริยาระหว่างหมู่อะมิโน และ หมู่คาร์บอกซิล

พันธะไดซัลไฟด์

ระหว่างซิสเทอีน 2 หน่วย ซึ่งเกิดปฏิกิริยาระหว่าง

หมู่ซัลฟ์ไฮดริล และ หมู่ฟอสเฟต

พันธะเพปไทด์

ระหว่างกรดอะมิโน 2 หน่วย ซึ่งเกิดปฏิกิริยาระหว่างหมู่อะมิโน และ หมู่ซัลฟ์ไฮดริล

พันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ ระหว่างนิวคลีโอไทด์ 2 หน่วย ซึ่งเกิดปฏิกิริยาระหว่าง

หมู่คาร์บอกซิล และ หมู่ฟอสเฟต

พันธะเอสเทอร์ ระหว่างกรดไขมัน กับ กลีเซอรอล ซึ่งเกิดปฏิกิริยาระหว่างหมู่คาร์บอกซิล และ หมู่ไฮดรอกซิล

4.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

Media Image

การทำงานของเอนไซม์บางชนิดอาจถูกยับยั้งได้ด้วยสารเคมีบางชนิด เรียกว่า ตัวยับยั้งเอนไซม์ (enzyme inhibitor) โดยตัวยับยั้งแบบแข่งขัน (competitive inhibitor) จะจับกับบริเวณเร่งของเอนไซม์ จากภาพ

โมเลกุล X สารตั้งต้นของเอนไซม์ A สารใดน่าจะเป็นตัวยับยั้งแบบแข่งขันของเอนไซม์ และเมื่อเติมสารนี้ในปฏิกิริยาที่เร่งด้วยเอนไซม์ A ข้อใดถูกต้อง (9สามัญ’63)

สาร Y - เอนไซม์มีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปมากจนไม่สามารถทำงานได้

สาร Z - เอนไซม์มีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปมากจนไม่สามารถทำงานได้

สาร Y - เอนไซม์จับกับโมเลกุล X ซึ่งเป็นสารตั้งต้นได้น้อยลง

สาร Z - เอนไซม์เสียสภาพและไม่สามารถกลับมาทำงานได้อีก

สาร Y - เอนไซม์เสียสภาพและไม่สามารถกลับมาทำงานได้อีก

5.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

ข้าวเป็นแหล่งอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตที่สำคัญชนิดหนึ่งของมนุษย์ ถ้านักเรียนนำข้าวสารมาตรวจสอบ

องค์ประกอบทางเคมี นักเรียนจะพบสารชีวโมเลกุลชนิดใดบ้าง (9สามัญ’62)

chitin และ cellulose

chitin , glycogen และ amylopectin

chitin , amylose และ glycogen

amylose และ amylopectin

amylose , cellulose และ amylopectin

6.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

ข้อใดเรียงลำดับออร์แกเนลล์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีน ตั้งแต่จุดเริ่มต้นที่นิวเคลียสจนกระทั่งได้โปรตีน

สำหรับส่งไปใช้ภายนอกเซลล์ได้ถูกต้อง (9สามัญ’64)

SER > Golgi body > lysosome

RER > Golgi body > vesicle

RER > Golgi body > lysosome

RER > SER > vesicle

SER > RER > vesicle

7.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

ยาชนิดหนึ่งใช้รักษาการติดเชื้อจุลินทรีย์ ด้วยกลไกขัดขวางกระบวนการทำงานของ tRNA ภายในเซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์นี้ จากข้อมูล ยาชนิดนี้น่าจะส่งผลต่อการทำงานของออร์แกเนลล์ใดของเชื้อจุลินทรีย์นี้มากที่สุด (9สามัญ’64)

ไลโซโซม

ไรโบโซม

ไมโทคอนเดรีย

กอลจิคอมเพล็กซ์

เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ

Create a free account and access millions of resources

Create resources
Host any resource
Get auto-graded reports
or continue with
Microsoft
Apple
Others
By signing up, you agree to our Terms of Service & Privacy Policy
Already have an account?