พลังงานศักย์ยืดหยุ่น

พลังงานศักย์ยืดหยุ่น

9th - 12th Grade

7 Qs

quiz-placeholder

Similar activities

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

12th Grade

10 Qs

ถาม-ตอบ (ซิมเปิ้ลฮาร์มอนิก)

ถาม-ตอบ (ซิมเปิ้ลฮาร์มอนิก)

12th Grade - University

10 Qs

SHM

SHM

10th Grade

10 Qs

ฟิสิกส์

ฟิสิกส์

10th - 11th Grade

10 Qs

แบบทดสอบท้ายบทที่ 1 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

แบบทดสอบท้ายบทที่ 1 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

11th Grade

10 Qs

แบบทดสอบหลังเรียน SHM

แบบทดสอบหลังเรียน SHM

11th Grade

12 Qs

พลังงานศักย์ยืดหยุ่น

พลังงานศักย์ยืดหยุ่น

10th Grade

10 Qs

แบบทดสอบก่อนเรียน

แบบทดสอบก่อนเรียน

11th Grade

10 Qs

พลังงานศักย์ยืดหยุ่น

พลังงานศักย์ยืดหยุ่น

Assessment

Quiz

Physics

9th - 12th Grade

Hard

Created by

Pam Pam

FREE Resource

7 questions

Show all answers

1.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

ข้อใดไม่ใช่ความหมายของพลังงานศักย์ยืดหยุ่น

งานของแรงที่ใช้ดึงสปริง

พลังงานของวัตถุที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งภายใต้แรงยืดหยุ่น

พลังงานของวัตถุที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งภายใต้แรงยืดหยุ่น

2.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

กราฟระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดึงกับระยะที่สปริงยืดออกมีลักษณะอย่างไร

เส้นตรง

เส้นโค้ง

เส้นหยัก

3.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

จากลักษณะของกราฟ สรุปความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดึงกับระยะที่สปริงยืดออกเป็น สมการทางคณิตศาสตร์ได้อย่างไร

F =x2

F α x

W α x

4.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

สมการในการหาค่าพลังงานศักย์ยืดหยุ่นคืออะไร

Eps = 1/2k(x)2    

Eps = 1/2m(x)2

Eps =1/2k(m)2

5.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

กราฟระหว่างงานของแรงที่ใช้ดึงที่ตำแหน่งต่าง ๆ จากตำแหน่งสมดุลกับกำลังสองของระยะที่สปริงยืดออกมีลักษณะอย่างไร

เส้นตรง

เส้นโค้ง

เส้นหยัก  

6.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

จากความสัมพันธ์ระหว่างงานของแรงที่ใช้ดึงที่ตำแหน่งต่าง ๆ จากตำแหน่งสมดุลกับกำลังสองของระยะที่สปริงยืดออก สามารถสรุปเป็นสมการทางคณิตศาสตร์ได้อย่างไร  

W =x

Wα x2

Wαx3

7.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

สปริงตัวหนึ่งมีค่าคงตัว 100 นิวตันเมตร ถูกกดให้สั้นลง 5 เซนติเมตร พลังงานศักย์ในสปริงมีค่าเท่าใด

0.125 J

0.0125 J

0.00125 J