แบบทดสอบก่อนเรียน อารยธรรมโลกยุคโบราณ

แบบทดสอบก่อนเรียน อารยธรรมโลกยุคโบราณ

11th Grade

5 Qs

quiz-placeholder

Similar activities

คำถามประวัติศาสตร์ ในหนังสือบทที่1 6/4

คำถามประวัติศาสตร์ ในหนังสือบทที่1 6/4

9th - 12th Grade

10 Qs

ม.6 เวลาและการแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์

ม.6 เวลาและการแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์

9th - 12th Grade

10 Qs

อารยธรรมอาเซียน

อารยธรรมอาเซียน

9th - 12th Grade

10 Qs

แหล่งอารยธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ม.1

แหล่งอารยธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ม.1

5th - 12th Grade

10 Qs

การปฏิบัติอุสาหกรรม ม.5

การปฏิบัติอุสาหกรรม ม.5

11th Grade

10 Qs

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ประวัติศาสตร์ยุโรป

11th Grade

10 Qs

อาเซียน

อาเซียน

9th - 12th Grade

10 Qs

เมโสโปเตเมีย ม.5

เมโสโปเตเมีย ม.5

11th Grade

10 Qs

แบบทดสอบก่อนเรียน อารยธรรมโลกยุคโบราณ

แบบทดสอบก่อนเรียน อารยธรรมโลกยุคโบราณ

Assessment

Quiz

History

11th Grade

Hard

Created by

663861218 663861218

Used 1+ times

FREE Resource

5 questions

Show all answers

1.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

ปัญหาการขาดแคลนอาหารในโลก ควรใช้การสร้างสรรค์ของอารยธรรมโบราณในเรื่องใด

การพัฒนาระบบชลประทาน

การประหารชีวิตผู้กระทำผิด

การใช้เศรษฐกิจแบบทุนนิยม

การกำหนดปฏิทินการทำงานให้แก่ประชาชน

2.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

ข้อใดเป็นผลมาจากการประดิษฐ์ตัวอักษรของอารยธรรมโบราณ

ระบบโทรทัศน์วงจรปิด

การสื่อสารกันด้วยอีเมล

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก

ระบบโทรศัพท์ระหว่างประเทศ

3.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

การขอหวยจากต้นไม้ของคนไทย สะท้อนถึงความเชื่อโบราณเรื่องใด

ต้นไม้ให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ได้ทุกเรื่อง

หว่านพืชต้องหวังผล  เป็นคนต้องหมั่นขวนขวาย

มีเทพเจ้าหรือวิญญาณในสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติ

สิ่งต่างๆ ในธรรมชาติสามารถพยากรณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าได้

4.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

อารยธรรมเมโสโปเตเมียด้านใด มีอิทธิพลต่อมนุษย์ในปัจจุบันมากที่สุด

ระบบการค้า

ระบบเวลา

ระบบกฏหมาย

ระบบชลประทาน

5.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

เหตุใดบริเวณเมโสโปเตเมียจึงมีกลุ่มชนต่างๆ เข้ามาสร้างอารยธรรมจำนวนมาก

เพราะมีทรัพยากรที่ส่งเสริมการสร้างอารยธรรม

เพราะต้องอยู่บนเส้นทางคมนาคมในสมัยโบราณ

เพราะเป็นพื้นที่ราบที่สะดวกต่อการเข้ายึดครองของชนกลุ่มต่างๆ

เพราะมีชนกลุ่มต่างๆ เข้ามาอาศัยตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณสองฝั่งแม่น้ำ