ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (ความเข้มข้น) ม.5

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (ความเข้มข้น) ม.5

12th Grade

7 Qs

quiz-placeholder

Similar activities

AC Motor-08

AC Motor-08

1st Grade - University

10 Qs

การดำรงชีวิตของพืช

การดำรงชีวิตของพืช

9th - 12th Grade

10 Qs

ปฏิกิริยาเคมี

ปฏิกิริยาเคมี

12th Grade

10 Qs

แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี 4

แบบทดสอบปฏิกิริยาเคมี 4

12th Grade

10 Qs

วิชาการ Quiz ม.ปลาย 29/09/63

วิชาการ Quiz ม.ปลาย 29/09/63

10th - 12th Grade

8 Qs

คำถามสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ ม.ปลาย 2563

คำถามสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ ม.ปลาย 2563

10th - 12th Grade

12 Qs

วิทยาศาสตร์ม.1

วิทยาศาสตร์ม.1

10th - 12th Grade

10 Qs

แบบทดสอบปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

แบบทดสอบปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

9th - 12th Grade

5 Qs

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (ความเข้มข้น) ม.5

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (ความเข้มข้น) ม.5

Assessment

Quiz

Science

12th Grade

Hard

Created by

Jiraphat Namkaew

FREE Resource

7 questions

Show all answers

1.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

การทดลองในข้อใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงที่สุดที่อุณหภูมิเดียวกัน

เติมกรด HCl 1.0 M ลงในสารละลาย Sodium Thiosulfate 1.0 M

เติมกรด HCl 0.75 M ลงในสารละลาย Sodium Thiosulfate 1.0 M

เติมกรด HCl 0.50 M ลงในสารละลาย Sodium Thiosulfate 1.0 M

เติมกรด HCl 0.25 M ลงในสารละลาย Sodium Thiosulfate 1.0 M

เติมกรด HCl 0.05 M ลงในสารละลาย Sodium Thiosulfate 1.0 M

2.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

ปฏิกิริยาใดที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้น

ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก

ปฏิกิริยาระหว่างกรดออกซาลิกกับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต

ปฏิกิริยาการกำจัดแอลกอฮอล์ในเลือด

ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไทโอซัลเฟตก

ทุกปฏิกิริยาไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้น

3.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

ข้อใดเป็นเหตุผลที่อธิบายว่า "เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น"

จำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นเพิ่มมากขึ้น เป็นการลดพลังงานกระตุ้น

จำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นเพิ่มมากขึ้น เป็นการเพิ่มพื้นที่ผิวของสารตั้งต้น

จำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นเพิ่มมากขึ้น เป็นการบังคับให้อนุภาคชนกันทุกทิศทาง

จำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นเพิ่มมากขึ้น เป็นการทำให้อนุภาคมีโอกาสชนกันมากขึ้น

จำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นเพิ่มมากขึ้น เป็นการทำให้ขั้นตอนในการเกิดปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงไป

4.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

การกระทำในข้อใดไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

การเติมสารกันบูดในอาหาร

การนำเนื้อหมูแช่ในช่องแช่แข็ง

ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ช่วยในการบ่มมะม่วง

การเคี้ยวยาลดกรดชนิดเม็ดให้ละเอียดก่อนกลืน

การเปลี่ยนขนาดภาชนะที่บรรจุสารละลายที่ทำปฏิกิริยา

5.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

ข้อความใดกล่าวไม่ถูกต้อง  

โมเลกุลที่จะมาชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาคือโมเลกุลที่มีพลังงานต่ำ ๆ

พลังงานกระตุ้นเป็นค่าเฉพาะของปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ

ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีโมเลกุลของสารตั้งต้นต้องชนกันให้ถูกทิศทาง

ปฏิกิริยาเคมีบางปฏิกิริยาอาจมีขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาหลายขั้นตอน

ปฏิกิริยาที่มีพลังงานกระตุ้นต่ำจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงกว่าปฏิกิริยาที่มีพลังงานกระตุ้นสูง

6.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

การกระทำให้กับระบบข้อใดที่ทำให้อนุภาคของสารตั้งต้นมีโอกาสชนกันมากขึ้น แต่ความแรงในการชนเท่าเดิม

การเพิ่มอุณหภูมิ การเพิ่มความดันแก๊ส

การเพิ่มความเข้มข้น ลดขนาดของสารตั้งต้นที่มีสถานะเป็นของแข็ง

การใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา และการลดปริมาตรของภาชนะที่บรรจุสารตั้งต้นที่มีสถานะเป็นแก๊ส

การใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาและการเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้น

การลดความเข้มข้น เพิ่มขนาดของสารตั้งต้นที่มีสถานะเป็นของแข็ง

7.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

45 sec • 1 pt

Media Image

ก. และ ข.          

ค. และ ง.

ก. ข. และ ค.

ก. ข. และ ง.

ก. ข. ค. และ ง.