แบบทดสอบเรื่อง ทฤษฎีปัญญานิยม

แบบทดสอบเรื่อง ทฤษฎีปัญญานิยม

University

6 Qs

quiz-placeholder

Similar activities

ปรัชญการศึกษา

ปรัชญการศึกษา

University

10 Qs

Theravada Buddhist Philosophy สัปดาห์ที่ 2 หลัง

Theravada Buddhist Philosophy สัปดาห์ที่ 2 หลัง

University

10 Qs

Theravada Buddhist Philosophy สัปดาห์ที่ 2 ก่อน

Theravada Buddhist Philosophy สัปดาห์ที่ 2 ก่อน

University

10 Qs

ปรัชญานิรันตรนิยม

ปรัชญานิรันตรนิยม

University

10 Qs

Pre-Test W.1 GEN64-132

Pre-Test W.1 GEN64-132

University

10 Qs

แบบทดสอบก่อนเรียนแผนการศึกษาแห่งชาติ

แบบทดสอบก่อนเรียนแผนการศึกษาแห่งชาติ

University

10 Qs

GEN64-132 Big Class Eastern Philosophy

GEN64-132 Big Class Eastern Philosophy

University

10 Qs

HR 351

HR 351

University

10 Qs

แบบทดสอบเรื่อง ทฤษฎีปัญญานิยม

แบบทดสอบเรื่อง ทฤษฎีปัญญานิยม

Assessment

Quiz

Philosophy

University

Hard

Created by

Techapon Sriwiset

Used 9+ times

FREE Resource

6 questions

Show all answers

1.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

จุดเด่นของทฤษฏีปัญญานิยมคืออะไร

ให้ความสำคัญกับกระบวนการคิด นำวิทยาศาสตร์เข้ามาใช้ในทฤษฏี

ช่วยให้เห็นความผิดปกติของพฤติกรรม

ไม่ให้ความสำคัญกับการคิด

เป็นการนำความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์เข้ามาเชื่อมโยงในทฤษฎี

2.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

ข้อใดไม่ใช่ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัสท์

การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์

บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย

การเรียนรู้เกิดได้ 2 ลักษณะ

การเรียนรู้จากประสบการณ์ที่พบเจอ

3.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรุนเนอร์มีกี่ข้อ

5

6

7

ไม่รู้จ้าาา

4.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

ใครเป็นคนคิดทฤษฎีเครื่องหมายขึ้นมา

Kurt Lewin

Edward Chace Tolman

ออซูเบล

เกสตัลท์

5.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

Lewin เชื่อว่า พฤติกกรมเป็นผลของแรง 2 ประเภท แรงนั้นคืออะไร

แรงโน้มถ่วงและแรงเงา

แรงปรารถนาและแรงใจวันอ้ายล้ม

แรงต้านและแรงเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

แรงดึงดูดและแรงงาน

6.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

30 sec • 1 pt

ข้อใดคือการนำทฤษฏีการเรียนรู้ของกลุ่ม เกสตัลท์ มาใช้ในการเรียนการสอน

สร้างแรงจูงใจหรือแรงขับโดยการ จัดการเรียนการสอนโดยเน้นการเข้าไปอยู่ใน “โลก” ของผู้เรียน

การเน้นให้ผู้เรียนเรียนด้วยความเข้าใจมากกว่าเน้นการเรียนแบบท่องจำ

ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเป้าหมายในการเรียนรู้หรือความคาดหมาย

ผลลัพธ์ของการเรียนรู้

การให้อิสระในการคิด

มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น