นิทานเวตาล เรื่องที่๑๐

นิทานเวตาล เรื่องที่๑๐

University

5 Qs

quiz-placeholder

Similar activities

คำราชาศัพท์

คำราชาศัพท์

12th Grade - University

10 Qs

ภาษาไทยน่ารู้กับครูปลื้มปริ่ม ม.1

ภาษาไทยน่ารู้กับครูปลื้มปริ่ม ม.1

University

10 Qs

คุณธรรม

คุณธรรม

University

10 Qs

ภาษาไทยง่ายนิดเดียว

ภาษาไทยง่ายนิดเดียว

KG - Professional Development

10 Qs

แบบทดสอบความรู้เรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร

แบบทดสอบความรู้เรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร

1st Grade - University

10 Qs

โคลงสี่สุภาพ

โคลงสี่สุภาพ

2nd Grade - University

10 Qs

การเขียนโครงเรื่อง

การเขียนโครงเรื่อง

University

10 Qs

เเนวคิด ทฤษฎี เทคโนโลยีเเละนวัตกรรมทางการศึกษา

เเนวคิด ทฤษฎี เทคโนโลยีเเละนวัตกรรมทางการศึกษา

University

10 Qs

นิทานเวตาล เรื่องที่๑๐

นิทานเวตาล เรื่องที่๑๐

Assessment

Quiz

World Languages

University

Medium

Created by

พิมวิไล ตาบุญใจ

Used 23+ times

FREE Resource

5 questions

Show all answers

1.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

ข้อคิดที่ได้จากนิทานเวตาล (เรื่องที่ 10) คือเรื่องใด

สอนให้รู้จักความพอดี ไม่โลภ ยับยั้งชั่งใจได้

สอนให้ฉลาด มีเล่ห์เหลี่ยม รู้เท่าทันผู้อื่น

สอนให้รู้จักความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ

สอนให้รู้จักมีสติรับรู้ได้ รู้จักคิดวิเคราะห์ รู้จัก

          หักห้ามใจก่อนกระทำสิ่งต่างๆ

2.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

“ข้าพเจ้าขอถวายพระพรให้ทรงรับความสำราญ เป็นผลแห่งการที่ทรงนิ่งครั้งนี้” จากข้อความดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าพระวิกรมาทิตย์ทรงใช้หลักธรรมข้อใดในการเอาชนะเวตาล

              

กตัญญู  

ปัญญา

มุทิตา

ขันติ

3.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

ผู้แต่งนิทานเวตาล (เรื่องที่ 10) มีจุดมุ่งหมายอย่างไร

      

ให้ความบันเทิงสนุกสนานผ่อนคลาย

ให้ความบันเทิงและแทรกคติธรรม

ให้คติธรรม หลักประพฤติปฏิบัติสอนใจ

ให้ความรู้เกี่ยวกับความเชื่อและวัฒนธรรมของ

          คนอินเดียโบราณ

4.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

หญิงที่พระราชาพบในป่ามักจะงามกว่าหญิงที่จะหาได้ ในกรุง มีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

พบไม้งามเมื่อยามขวานบิ่น

ช้างเผือกเกิดในป่า

วานรได้แก้ว

กาในฝูงหงส์

5.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

1 min • 1 pt

นามปากกาของผู้ประพันธ์เรื่องนิทานเวตาลเรื่องที่๑๐คือข้อใด

ร.ช.ม

น.ม.ส

ร.ม.จ

ร.จ.ส