กฎหมายแพ่งที่ควรรู้

กฎหมายแพ่งที่ควรรู้

6th Grade

20 Qs

quiz-placeholder

Similar activities

กฎหมายสิทธิส่วนบุคคล

กฎหมายสิทธิส่วนบุคคล

6th - 8th Grade

15 Qs

หน้าที่พลเมือง

หน้าที่พลเมือง

4th - 6th Grade

20 Qs

ทบทวนสังคมก่อนสอบครั้งที่ 3

ทบทวนสังคมก่อนสอบครั้งที่ 3

KG - Professional Development

16 Qs

พุทธประวัติและชาดก ป.6

พุทธประวัติและชาดก ป.6

6th Grade

20 Qs

ศาสนาสากล(ศาสนาคริสต์)

ศาสนาสากล(ศาสนาคริสต์)

5th - 10th Grade

20 Qs

แนวข้อสอบสังคมศึกษา เตรียมเข้า ม.1 ครูเอ AG 9

แนวข้อสอบสังคมศึกษา เตรียมเข้า ม.1 ครูเอ AG 9

6th Grade

20 Qs

กฎหมายพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน

กฎหมายพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน

6th Grade

20 Qs

พฤติกรรมการบริโภค ม.1 ฺBY.Yodrak

พฤติกรรมการบริโภค ม.1 ฺBY.Yodrak

6th Grade

20 Qs

กฎหมายแพ่งที่ควรรู้

กฎหมายแพ่งที่ควรรู้

Assessment

Quiz

Social Studies

6th Grade

Hard

Created by

จีระภา บุญไชย

Used 178+ times

FREE Resource

20 questions

Show all answers

1.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

ใครคือบิดาแห่งกฎหมายไทย

Media Image
Media Image
Media Image
Media Image

2.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

. “ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ถ้าไม่มีกฎหมาย”เป็นหลักสำคัญของกฎหมายใด

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

ประมวลกฎหมายอาญา

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

พระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่ออกโดยผ่านรัฐสภา

3.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

ข้อใดมิใช่ลักษณะสำคัญของกฎหมาย

จะต้องมีสภาพบังคับ

จะต้องมีกระบวนการในการจัดทำกฎหมาย

จะต้องมีผลบังคับเป็นการทั่วไป

จะต้องมีประสิทธิภาพในการบังคับได้ดีกว่ากลไกอื่น ๆ ของสังคม

4.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

ลำดับชั้นศาลของไทยข้อใดถูกต้อง

ศาลแขวง ศาลแพ่ง ศาลฎีกา

ศาลอาญา ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา

ศาลแพ่ง ศาลอาญา ศาลฎีกา

ศาลชั้นต้น ศาลชั้นกลาง ศาลฎีกา

5.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

บุคคลใดเกี่ยวข้องในกระบวนการดำเนินคดีแพ่ง

พนักงานสอบสวน

พนักงานคุมประพฤติ

พนักงานอัยการ

พนักงานบังคับคดี

6.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

คณะรัฐมนตรีมีอำนาจถวายคำแนะนำการบัญญัติกฎหมายใด

รัฐธรรมนูญ

กฎกระทรวง

พระราชบัญญัติ

พระราชกฤษฎีกา

7.

MULTIPLE CHOICE QUESTION

20 sec • 1 pt

ศาลปกครองมีอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดีประเภทใด

คดีพิพาทระหว่างประชาชนกับสมาชิกพรรคการเมือง

คดีพิพาทระหว่างสมาชิกรัฐสภา

คดีพิพาทระหว่างประชาชนด้วยกันเอง

คดีพิพาทระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ

Create a free account and access millions of resources

Create resources
Host any resource
Get auto-graded reports
or continue with
Microsoft
Apple
Others
By signing up, you agree to our Terms of Service & Privacy Policy
Already have an account?